8 = 420 VA หากระแสที่ไหลทั้งหมด = VA ทั้งหมด / แรงดันไฟฟ้า = 420 / 220 = 1. 9 A หาขนาดสายป้อนวงจรย่อย กำหนดให้ต้องมีขนาดไม่ต่ำกว่า 2. 5 ตร. มม. ซึ่งทนกระแสได้ 20 A ดังนั้นสายป้อนของวงจรย่อยนี้ ต้องใช้ขนาดสาย 2. มม หมายเหตุ หากหลอดเป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ ให้บวกกำลังที่ใช้กับบาลาสต์ ไปด้วย (ในที่นี้โจทย์ไม่บอกว่าเป็นบาลาสต์แบบใด คิดเป็นบาลาสแบบธรรมดา ใช้พลังงาน 10 W) ค่าเพาเวอร์แฟกเตอร์หากโจทย์ไม่บอกมา ให้ใช้ค่า 0. 8 - การออกแบบวงจรเต้ารับ สามารถหาได้จาก 1 วงจรย่อย จะควบคุมโหลดเต้ารับ ไม่เกิน 10 จุด เช่น บ้านหลังหนึ่งมีโหลดเต้ารับ 20 จุด ควรแบ่งวงจรย่อยเต้ารับออกเป็นกี่วงจรย่อย จำนวนวงจรย่อย = จำนวนจุดของเต้ารับ / 10 = 20 / 10 = 2 วงจรย่อย การคำนวณโหลดทางไฟฟ้า สามารถหาได้จากการคำนวณ หรือหาได้จากตารางกำลังของโหลด

Iphone

รวมโหลดทั้งหมดของแผงควบคุมไฟฟ้าย่อยทั้งอาคารเพื่อนำมาคำนวณและออกแบบหาพิกัดของอุปกรณ์ป้องกันภายในตู้ควบคุมไฟฟ้าหลัก (MDB) และอุปกรณ์ประกอบภายในตู้ รวมกับถึงการกำหนดขนาดของหม้อแปลงไฟฟ้าและสายประธานของอาคาร 13. คำนวณและเขียน Riser Diagram ของระบบไฟฟ้า รวมทั้ง คำนวณและเขียน Single Line Diagram ของตู้ MDB 14. คำนวณและออกแบบระบบอื่นๆ เช่นระบบล่อฟ้า, ระบบสื่อสารในอาคาร, ระบบโทรศัพท์, ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้อัตโนมัติ ระบบป้องกันภัย และอื่นๆ 15. ตรวจสอบและแก้ไขแบบให้ถูกต้องสมบูรณ์ 16. เขียนข้อกำหนดและรายละเอียดประกอบแบบ (รายการประกอบแบบ) ซึ่งจะแสดงรายละเอียดต่างๆ ในแบบ เช่น ขนาดและชนิดรวมถึงเครื่องหมายการค้าของอุปกรณ์ที่กำหนดให้ใช้และข้อกำหนดซึ่งผู้รับจ้างจะต้องรับผิดชอบและปฏิบัติตาม โดยทั่วไปจะถือเป็นส่วนหนึ่งของสัญญาในการรับเหมางานก่อสร้างงานติดตั้ง ระหว่างผู้รับจ้างกับผู้ว่าจ้าง (เจ้าของอาคาร) ด้วย 17. เมื่อวิศวกรผู้ออกแบบทำการกำหนดชนิดของผลิตภัณฑ์ที่ใช้แล้ว ผู้ออกแบบจะต้องทำการประมาณราคา เพื่อผู้ว่าจ้างจะได้ใช้เป็นราคากลางในการคัดเลือกผู้รับเหมาทำการก่อสร้างติดตั้งต่อไป 18.

คำนวณและออกแบบความต้องการของแสงสว่างของแต่ละห้องตามชนิดของการใช้งาน พร้อมทั้งกำหนดชนิดของดวงโคม (ชนิดดวงโคมบางครั้งอาจถูกกำหนดโดยสถาปนิกทั้งนี้เพื่อความสวยงาม) เพื่อหาโหลดของระบบแสงสว่าง 8. กำหนดตำแหน่งของดวงโคมและเต้ารับลงในแบบโดยทั่วไปการแสดงตำแหน่งของดวงโคมและเต้ารับจะแยกเขียนออกจากกัน และหากมีระบบไฟฟ้าสื่อสารอันได้แก่ ระบบโทรศัพท์ ระบบโทรทัศน์ ระบบสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้อัตโนมัติ ก็มักจะเขียนแบบแยกแผ่นกันทั้งนี้เพื่อความง่ายในการอ่านแบบ 9. แยกวงจรย่อยโดยโยงสายลงในแบบเพื่อควบคุมดวงโคมหรือเชื่อมต่อวงจรของเต้ารับไฟฟ้า ซึ่งอยู่ในวงจรเดียวกันเข้าด้วยกัน พร้อมทั้งกำหนดหมายเลขของวงจรในแผงจ่ายไฟ การกำหนดวงจรย่อยมักจะกำหนดตามความเหมาะสมของอุปกรณ์ตัดตอน (Circuit Breaker; CB) หรือกำหนดตามพื้นที่การใช้งานควบคู่กัน 10. คำนวณโหลดแต่ละแผงควบคุมไฟฟ้าย่อย พร้อมทั้งชนิด, จำนวนและขนาดของสายไฟฟ้า, ท่อร้อยสายไฟฟ้า และขนาด AT AF และ Pole ของเซอร์กิตเบรคเกอร์ (CB) ลงในตารางโหลด 11. นำโหลดในแต่ละแผงควบคุมไฟฟ้ารวมกันในแต่ละเฟสของระบบ แล้วคำนวณหาสายป้อนและ ขนาดอุปกรณ์ป้องกันตู้ควบคุมไฟฟ้าย่อย (Main Circuit Breaker) ของตู้ควบคุมไฟฟ้าย่อยนั้น 12.

ความปลอดภัย (Safety) ความปลอดภัย นับเป็นสิ่งสำคัญอันดับแรกของการออกแบบระบบไฟฟ้า ดังนั้นในการออกแบบระบบไฟฟ้า จึงต้องคำนึงถึงกฎและมาตรฐานต่างๆ ที่ใช้บังคับ สำหรับประเทศไทย มาตรฐานที่ใช้ในการติดตั้งไฟฟ้า ให้ใช้มาตรฐานของวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย 2. ความเชื่อมั่นของระบบ (Reliability) การออกแบบระบบไฟฟ้า จะต้องมีความเชื่อมั่นของระบบการป้องกัน เมื่อเกิดการขัดข้องของระบบ จะต้องมีระบบตัดตอนที่ดี เช่น การใช้อุปกรณ์ที่ได้การรับรองมาตรฐาน 3. ความง่ายในการดัดแปลง (Flexibility) การออกแบบระบบไฟฟ้าที่ดีจะต้องมีความยืดหยุ่นสามารถดัดแปลงเพิ่มเติมระบบในอนาคตได้โดยสะดวกและสามารถรองรับระบบในอนาคตได้โดยสะดวกโดยไม่เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา เช่น การเพิ่มโหลดได้โดยไม่ต้องรื้อระบบใหม่ 4. ความประหยัด (Economy) การออกแบบระบบไฟฟ้าที่ดี ต้องคำนึงถึงความประหยัดภายใต้เงื่อนไขของความปลอดภัย ความเชื่อมั่น และความง่ายในการดัดแปลง หมายถึงผู้ออกแบบต้องพยายามออกแบบให้ประหยัดแต่ต้องอยู่ภายใต้กฎและมาตรฐานต่างๆ ของการออกแบบ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ที่มรมาตรฐาน ง่ายต่อการบำรุงรักษาและเปลี่ยนแปลง โดยปกติควรมีการบำรุงรักษาเพื่อป้องกันเหตุต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ อย่างน้อย ปีละ 2 ครั้ง ดังนั้นผู้ออกแบบระบบไฟฟ้าที่ดีจึงต้องเป็นผู้ที่มีความรู้และประสบการณ์ด้านการติดตั้งระบบไฟฟ้าเป็นอย่างดี จึงจะสามารถออกแบบระบบไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด 5.

การออกแบบไฟฟ้าในอาคาร

ขั้นตอนการออกแบบระบบไฟฟ้า 1. ศึกษาแบบทางสถาปัตยกรรม เพื่อให้ทราบข้อมูลต่างๆ ของอาคาร การใช้งานของห้องที่สถาปนิกได้ทำการออกแบบไว้ตามความต้องการของสถาปนิกและเจ้าของอาคาร 2. ประมาณการใช้โหลด โดยใช้ข้อมูลจากสถาปนิกและความต้องการของเจ้าของอาคาร ชนิดและลักษณะการใช้งานของอาคารและพื้นที่ทั้งหมดของอาคาร 3. กำหนดตำแหน่งและแนวทางของสายประธานจากการไฟฟ้าฯ ที่จ่ายให้แก่อาคาร, ขนาดแรงดันไฟฟ้าของระบบ, ตำแหน่งของมิเตอร์วัดไฟฟ้า ซึ่งจะต้องดูสถานที่ที่จะสร้างอาคารพร้อมทั้งขอคำแนะนำจากการไฟฟ้าฯ หน่วยที่รับผิดชอบบริเวณที่จะทำการก่อสร้างอาคารนั้นๆ 4. ศึกษา ชนิดและการใช้งานของพื้นที่ในอาคาร, อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องการใช้และขนาดการกินกระแสของอุปกรณ์แต่ละชนิด ซึ่งข้อมูลบางส่วนจะต้องสอบถามจากสถาปนิกผู้ออกแบบหรือเจ้าของอาคาร 5. ศึกษาความต้องการของโหลดไฟฟ้าระบบอื่นๆ เช่น เครื่องปรับอากาศ, ระบบลิฟท์, ระบบประปา และอื่นๆ 6. ศึกษาและกำหนดตำแหน่งติดตั้งและขนาดของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ตลอดจนความต้องการเนื้อที่ของอุปกรณ์เหล่านั้น เช่น ตำแหน่งและขนาดของห้องเครื่อง ห้องติดตั้งหม้อแปลงและแผงควบคุมไฟฟ้าหลัก (Main Distribution Board; MDB) แผงควบคุมไฟฟ้ารอง (Sub Distribution Board; SDB) แผงควบคุมไฟฟ้าย่อย (Load Panel) แนวทางและขนาดของท่อเดินสายป้อน (Feeder Shaft) ซึ่งเป็นประโยชน์ในการออกแบบ 7.

แรงดันตก (Voltage Drop) ในการออกแบบระบบไฟฟ้าภายในอาคาร สิ่งที่ต้องคำนึงถึงอีกอย่างหนึ่งคือ ค่าแรงดันไฟฟ้าตก เนื่องจากขนาดของโหลด และความยาวของสายป้อนและสายวงจรย่อยที่เดินไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้า รวมทั้งโหลดในอนาคตที่จะเพิ่มด้วย แรงดันตกมักสร้างความเสียหายแก่อุปกรณ์ไฟฟ้าเป็นอย่างมาก ตามมาตรฐานของไฟฟ้า และ NEC กำหนดแรงดันตกในช่วงของสายป้อนจะต้องไม่เกิน 3% หากในส่วนของวงจรย่อยไม่เกิน 5% การพิจารณาในเรื่องแรงดันตกมักจะนำมาพิจารณาในกรณีที่สายป้อนหรือสายเมน มีระยะการเดินสายที่ยาวๆ เท่านั้น การออกแบบวงจรย่อย ในการออกแบบวงจรย่อย จะแบ่งวงจรย่อยออกเป็น 3 ประเภท คือ 1. วงจรย่อยแสงสว่าง 2. วงจรย่อยเต้ารับ 3. วงจรย่อยเฉพาะ หมายเหตุ ในอาคารขนาดเล็ก โหลดแสงสว่างและโหลดเต้ารับจะรวมกันก็ได้ - การออกแบบวงจรแสงสว่าง 1. จำนวนวงจรย่อย สามารถหาได้จาก 1 วงจรย่อย จะควบคุมโหลดแสงสว่าง ไม่เกิน 10 จุด เช่น บ้านหลังหนึ่งมีโหลดทางไฟฟ้าเป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ 32 W 16 ชุด ควรแบ่งวงจรย่อยแสงสว่างออกเป็นกี่วงจรย่อย วิธีทำ จำนวนวงจรย่อย = จำนวนจุดของโหลดแสงสว่าง / 10 = 16 / 10 = 1. 6 ปรับเป็นจำนวนเต็ม = 2 วงจรย่อย 2. สายป้อนวงจรย่อย สามารถหาได้จากการคำนวณโหลดรวมทั้งหมดในวงจรย่อยนั้น เช่น วงจรย่อยแสงสว่างวงจรหนึ่งมีโหลดเป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ 32 W 8 ชุด จงหาขนาดของสายป้อน หาขนาดของโหลดในวงจรย่อย = (ขนาด VA ของหลอด x จำนวนหลอด) = (ขนาดวัตต์ของหลอด x จำนวนหลอด) / เพาเวอร์แฟกเตอร์ จากโจทย์ ใช้สูตร = (ขนาดวัตต์ของหลอด x จำนวนหลอด) / เพาเวอร์แฟกเตอร์ = ( (32 + 10) x 8) / 0.

  1. การ ออกแบบ ไฟฟ้า ใน อาคาร ไม่
  2. The barisotel by the baristro ราคา
  3. การออกแบบไฟฟ้าในอาคาร
  4. การ ออกแบบ ไฟฟ้า ใน อาคาร oppo
การออกแบบไฟฟ้าในอาคาร
  1. กระเบื้อง ลอน คู่ สี เทา ศิลา
  2. ดาว โหลด มา ย ครา ฟ 1. 14 4
  3. ตู้ ปลา 48 นิ้ว ราคา เท่า ไหร่